นอกจากบำนาญจะคุ้มกว่าบำเหน็จแล้ว ยังเบาใจได้ว่า "ประกันสังคม" ไม่ได้นิ่งดูดายปล่อยให้เราแก่แบบไร้บำนาญ เพราะเมื่อเร็วๆ นี้มีข่าวว่า สำนักงานประกันสังคมมีแผนจะปฏิรูประบบบำนาญประกันสังคม อยู่ 5 แนวทาง ได้แก่. 5% ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบทุก 12 เดือน (ถ้ามีเศษเกินจะถูกปัดทิ้ง เช่น ถ้าสะสมมา 16 ปี 2 เดือน ก็จะได้แค่ 16 ปี). ประกันสังคมได้เงินคืนอายุเท่าไหร่. สวลี จะได้เงินบำเหน็จทั้งหมด 172, 074. สวลี เริ่มส่งเงินสมทบกรณีชราภาพมาตั้งแต่ปี 2545 จนถึงตอนนี้รวมเวลาส่งเงินสมทบได้ 168 เดือน ยังไม่ครบ 180 เดือน แต่อายุครบ 55 ปี ซึ่งเข้าหลักเกณฑ์ที่จะได้เงินบำเหน็จแล้ว. จริงๆ แล้ว ไม่มีคำตอบที่ถูกต้องที่สุดสำหรับทุกคน เพราะจะขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในชีวิตของแต่ละคน แต่ก่อนที่จะเลือกแบบไหนควรคำนวณกันให้ดีก่อนตัดสินใจ เพราะบางทีการรอไปจนได้เงินบำนาญหลักพันจะคุ้มกว่าได้เงินบำเหน็จหลักแสน. นอกจากนี้ จะมีเงินอีกส่วนหนึ่ง คือ ผลประโยชน์ตอบแทน โดยจะนำเงินสมทบของผู้ประกันตน บวกกับเงินสมทบของนายจ้าง ที่สะสมมาไปคูณกับอัตราผลประโยชน์ตอบแทนในแต่ละปี (ซึ่งแต่ละปีจะได้ไม่เท่ากัน โดยจะได้เท่าไรนั้นต้องรอดูประกาศของสำนักงานประกันสังคม) เช่น. 5 หมื่นบาท และส่งเงินสมทบกรณีชราภาพเดือนละ 450 บาท มาเพียง 11 เดือน จะได้เงินบำเหน็จเท่ากับ 450 บาท คูณกับ 11 เดือน เท่ากับเงินบำเหน็จ 4, 950 บาท.

เงิน 750 บาท ไม่ได้หายไปไหน แต่จะถูกกระจายไปสมทบไว้เป็น "สิทธิประโยชน์" ในแต่ละกรณี. สวลี มีอายุยืนมากกว่า 64 ปี การตัดสินใจรับบำนาญหลักพันก็ค้มค่ามากกว่าบำเหน็จหลักแสน. 2541 ทำให้ในแต่ละเดือน เราจะมีเงินเก็บไว้ใช้ในกรณีชราภาพสูงสุด 900 บาท โดยเป็นส่วนของลูกจ้าง 450 บาท และนายจ้าง 450 บาท ซึ่งเงินส่วนนี้จะกลายมาเป็นบำเหน็จ หรือบำนาญ แล้วแต่ว่าเราเข้าเงื่อนไขด้านไหน. ขณะที่ 3% ของค่าจ้าง หรือสูงสุด 450 บาท จะเก็บไว้สำหรับกรณีชราภาพ. ทั้งหมดก็เพื่อยืดอายุกองทุนให้มีเงินพอจ่ายบำนาญไปได้อีกหลายสิบปี. สวลี จะแบ่งเป็น 2 ส่วน. ประกันสังคมจ่ายเท่าไหร่. เงินส่วนแรกที่จะได้ คือ เงินสมทบของผู้ประกันตน 67, 952 บาท อีกส่วนหนึ่งเป็นของนายจ้าง 67, 952 บาท โดยสองส่วนนี้รวมกันได้เท่ากับ 135, 904 บาท. เมื่อคูณกับผลประโยชน์ตอบแทนของปี 2546 ที่ 6. 6 หมื่นบาท ซึ่งหากรับบำนาญต่อไปจนถึงอายุ 64 ปี ก็คุ้มแล้ว (แต่ถ้าจะให้ยุติธรรม ต้องคิดเฉพาะกรณีชราภาพเดือนละ 450 บาท เท่ากับปีละ 5, 400 บาท เท่านั้น). แม้จะได้เข้าเงื่อนไขนี้แล้ว แต่ก็อาจจะได้บำเหน็จไม่เท่ากัน เพราะการจ่ายจะแบ่งเป็น 2 กรณี คือ. และนอกจากเงินที่ลูกจ้างสมทบให้แล้ว นายจ้างสมทบยังช่วยสมทบให้อีกเท่าตัว นอกจากนี้บางกรณีรัฐบาลยังร่วมสมทบให้อีกแรง (ยกเว้นกรณีชราภาพ).

ส่วนแรก เป็นช่วงเวลา 180 เดือน หรือ 15 ปีแรกที่ส่งเงินสมทบ จะได้เงินบำนาญ 20% คูณ 1. อายุครบ 55 ปีบริบูรณ์. เห็นแบบนี้แล้ว เราจะเลือก "เงินก้อนหลักแสน" หรือ "รายได้ประจำหลักพัน". ประกันสังคมคืนเงินก่อนอายุ55. 5 หมื่นบาท) แต่ถ้าจ่ายเงินสมทบมากกว่า 180 เดือน ได้รับเงินเพิ่มอีก 1. หากสมทบมา 180 เดือน หรือ 5 ปี พอดิบพอดี จะได้เงินบำนาญรายเดือนจะเท่ากับ 20% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย (ไม่เกิน 1. จ่ายเงินสมทบ ตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป (แต่ไม่ถึง 180 เดือน) จะได้เงินบำเหน็จชราภาพ ซึ่งมาจาก 3 ส่วน คือ เงินสมทบของเรา เงินสมทบของนายจ้าง ที่สมทบมาทั้งหมด บวกกับผลประโยชน์ตอบแทนตามที่สำนักงานประกันสังคมกำหนด. 5 หมื่นบาท แปลว่า ต่อให้เราเงินเดือนมากกว่า 1.

5 หมื่นบาท จะได้อีก 900 บาท. 95 บาท และเมื่อรวมกับเงินสมทบ น. 5% × 4 ปี) ของรายได้เฉลี่ย หรือ 1. ปี 2546 มีเงินสมทบ 7, 648 บาท รวมกับที่สมทบมาแล้วในปี 2545 อีก 2, 256 บาท จะเท่ากับ 9, 904 บาท.

จ่ายเงินสมทบมาไม่ถึง 12 เดือน จะได้บำเหน็จชราภาพเท่ากับจำนวนเงินสมทบจ่ายเข้ากองทุน. กรณีนี้จะมีผลต่อเงินบำนาญที่จะได้รับ เพราะฐานค่าจ้างสูงสุดของมาตรา 39 จะอยู่ที่ 4, 800 บาท ไม่ใช่ 1. นั่นเพราะสิทธิที่จะได้รับเงินบำนาญชราภาพ จะเกิดเมื่อเราจ่ายเงินสบทบเข้ากองทุนประกันสังคมครบตามเงื่อนไข 3 ข้อ ต่อไปนี้ คือ. แต่เรื่องนี้จะพลิกจากคุ้มเป็นไม่คุ้ม ถ้าหลังจากได้สิทธิรับบำนาญชราภาพและเกษียณจากงานประจำแล้ว ทำให้ไม่ได้เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 แล้ว แต่ น. หลายคนบอกว่า เงินแสนอยู่ตรงหน้าจะรออะไร รีบลาออกจากกองทุนประกันสังคมตั้งแต่ยังส่งเงินไม่ครบ 180 เดือน แล้วไปรอรับเงินบำเหน็จหลักแสน ตอนอายุ 55 ปี ดีกว่าส่งเงินสมทบไปเรื่อยจนเกิน 180 เดือน เพราะได้รับเงินบำนาญแค่เดือนละหลักพันเท่านั้น. เพราะอีกหน่อยถ้าผู้ประกันตนเกษียณอายุมากขึ้นเรื่อยๆ แล้วทุกคนเลือกรับบำนาญเหมือนกัน แต่คนทำงานที่จะส่งเงินเข้ากองทุนกลับมีน้อยลง เงินในกองทุนอาจจะร่อยหรอลงไปเรื่อยๆ ก็ได้... ใครจะไปรู้. จ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 180 เดือน (เท่ากับ 15 ปี) ไม่ว่าจะติดต่อกันหรือไม่ก็ตาม. ส่วนที่สอง จะคำนวณจากช่วง 4 ปีหลัง ที่จะได้เงินบำนาญเพิ่มอีก 6% (มาจาก 1. ประกันสังคมกรณีชราภาพ. สวลี ยังทำงานต่อเนื่อง จึงมาสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 เพราะอยากได้สิทธิประโยชน์ด้านอื่นจากประกันสังคม. หรือจะคิดรวมเป็นอัตราเงินบำนาญ 26% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย ก็จะออกมาเป็นเงินบำนาญเดือนละ 3, 900 บาท.

นอกจากนี้ ไม่ว่าจะเลือกรับบำเหน็จ หรือบำนาญ ต้องไปยื่นคำขอที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ หรือสำนักงานประกันสังคมจังหวัดและสาขา (จะไปยื่นไหนก็ได้) ภายใน 2 ปีนับจากวันที่มีสิทธิได้รับประโยชน์กรณีชราภาพ หรือวันที่สิ้นสุดการเป็นผู้ประกันตน. 5% ของค่าจ้าง หรือสูงสุด 225 บาท จะเก็บไว้สำหรับกรณีเจ็บป่วยหรือประสบอันตราย+กรณีคลอดบุตร+กรณีทุพพลภาพ+กรณีเสียชีวิต. ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง. สวลี ตัดสินใจเกษียณอายุ เลิกทำงาน ทำให้ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง น. สำหรับกรณีชราภาพเริ่มมีการสมทบมาตั้งแต่วันที่ 31 ธ. นี่จะเป็นเงินบำนาญหลักพันที่จะได้รับไปตลอดชีวิต. ปี 2545 มีเงินสมทบ 2, 256 บาท ผลประโยชน์ตอบแทนอยู่ที่ 4. เพิ่มอัตราเงินสมทบที่จัดเก็บเข้าสู่กองทุนชราภาพ. 5 หมื่นบาท เหมือนตอนที่เป็นสมาชิกกองทุนตามมาตรา 33 ดังนั้นจึงทำให้ค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายที่นำมาคำนวณเงินบำนาญรายเดือนจะลดลงตามไปด้วย. แม้ว่าจะต้องส่งเงินสมทบต่อไปอีก 4-5 ปี ก็ยังคุ้ม เพราะแต่ละปีจะส่งเงินสมทบ 9, 000 บาท เป็นเวลา 4 ปี เท่ากับ 3. หลังจากเป็น "ผู้ประกันตน" ส่งเงินสมทบเข้า "กองทุนประกันสังคม" มานานแสนนาน จนเกือบจะครบ 180 เดือน ตามเกณฑ์ที่จะได้รับบำนาญชราอยู่แล้ว แต่ถ้ายังครบ 180 เดือน ก็ยังอยู่ในเกณฑ์ที่จะได้รับบำเหน็จชราภาพ. ก่อนจะไปตัดสินใจเลือก "บำเหน็จ" หรือ "บำนาญ" หลายคนอาจจะไม่รู้ว่า ถ้าเราเป็นผู้ประกันตนภาคบังคับ (มาตรา 33) หรือลูกจ้างอย่างเราๆ ที่ทุกเดือนจะถูกหักเงิน 5% ของค่าจ้างไปสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม โดยกำหนดฐานค่าจ้างขั้นต่ำไว้ที่ 1, 650 บาท และสูงสุดอยู่ที่ 1. ปรับสูตรคำนวณการจ่ายเงินบำนาญชราภาพ. จ่ายเงินสมทบไม่ครบ 180 เดือน.

ไอ โฟน Xs ส เป ค, 2024